The Secrets of Light.....
Electronics Portfolio Science Experiences Management for Early Childhood
วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557
Lesson 6
บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 6 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.30 น
Knowledge :
Activities in class.....
1.กิจกรรมสำหรับเด็กอย่างง่าย กังหันมหัศจรรย์
Equipment :
steps :
พับกระดาษครึ่งหนึ่ง
ใช้กรรไกรตัดกระดาษอีกครึ่งตามรูป
จากนั้นพับกระดาษฝั่งที่ไม่ได้ตัดขึ้นมาเล็กน้อยและเอาที่หนีบ หนีบไว้
การทดลอง : จะเห็นได้ว่ากังหันจะหมุนซึ่งเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก
2.กิจกรรมการนำเสนอ article :
2.1วิทยาศาตร์และการทดลอง : ดูเพิ่มเติม
สารเคมีต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ของกินของใช้ประจำบ้านเรา เช่น ผงซักฟอก สบู่ก้อน น้ำยาล้างจาน น้ำส้มสายชู บางอย่างก็มีความเป็นกรด(รสเปรี้ยว) บางอย่างเป็นด่าง(รสฝาด) เราสามารถทดสอบกรด-ด่างได้อย่างปลอดภัยไม่ต้องชิมรส ..ก็ของบางอย่างกินไม่ได้นี่นา เริ่มการทดลองกันเลย
สารเคมีต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ของกินของใช้ประจำบ้านเรา เช่น ผงซักฟอก สบู่ก้อน น้ำยาล้างจาน น้ำส้มสายชู บางอย่างก็มีความเป็นกรด(รสเปรี้ยว) บางอย่างเป็นด่าง(รสฝาด) เราสามารถทดสอบกรด-ด่างได้อย่างปลอดภัยไม่ต้องชิมรส ..ก็ของบางอย่างกินไม่ได้นี่นา เริ่มการทดลองกันเลย
สิ่งที่ต้องใช้
1.ดอกอัญชัน(สีน้ำเงิน) 15 ดอก
2.น้ำร้อน
3.ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ เช่น สบู่ก้อนต้ดเป็นชิ้นเล็กๆ น้ำมะนาว ผงซักฟอก น้ำส้มสายชู น้ำยา ล้างจาน
2.น้ำร้อน
3.ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ เช่น สบู่ก้อนต้ดเป็นชิ้นเล็กๆ น้ำมะนาว ผงซักฟอก น้ำส้มสายชู น้ำยา ล้างจาน
วิธีทดลอง นำดอกอัญชันมาแช่ในน้ำร้อนสักครู่ จะสังเกตว่ามีสีน้ำเงินละลายออกมาจากกลีบดอกทิ้งไว้จนกลีบดอกซีดจึงตักขึ้น นำน้ำสีน้ำเงินที่ได้แบ่งใส่แก้วใสตามจำนวนผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ และอย่าลืมเหลือสีเดิมไว้เปรียบเทียบด้วยนะ ติดป้ายชื่อผลิตภัณฑ์ บนแก้วแต่ละใบเพื่อจะได้ไม่สับสนตอนบันทึกผลการทดลองเติมสารเคมีที่ต้องการทดสอบ 1 ช้อนชา ลงไปในแก้วแต่ละใบ แล้วคนให้เข้ากัน น้ำสีน้ำเงินของดอกอัญชัน สามารถเป็นอินดิเคเตอร์ วัดความเป็นกรด-ด่างได้ โดยสารที่เป็น
กรดจะทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงสารที่เป็นด่างจะทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีเขียว
กรดจะทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงสารที่เป็นด่างจะทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีเขียว
วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ
ความสำคัญของกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ความสำคัญของกิจกรรมวิทยาศาสตร์
- ส่งเสริมการเห็นคุณค่าของตนเองและมีความกระตือรือร้น (คือเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้)
- ส่งเสริมการทำงานรายบุคคลและการคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาของเด็ก
- ยอมรับรูปแบบการเรียนรู้จากวัสดุอุปกรณ์ซึ่งจะช่วยสร้างประสบการณ์ที่เป็นธรรมชาติ
- เพื่อเป็นการช่วยอธิบายความเข้าใจด้วยตัวเองของเด็ก
- ดูแลเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมของเด็กที่ปรากฎ เช่น การแสดงความกังวลใจ เด็กที่เกิดความเบื่อ
- กิจกรรมการค้นพบช่วยให้ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ อยากสืบค้นต่อไป
- ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทางสติปัญญาของเด็กจากการเรียนรู้ที่เด็กได้สัมผัสกับวัสดุอุปกรณ์
2.3 สอนลูกเรื่องอากาศ :ดูเพิ่มเติม
การสอนลูกเรื่องอากาศ (Teaching Children about weather) หมายถึง การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ถึงส่วนผสมของก๊าซต่างๆและไอน้ำ รู้คุณสมบัติของอากาศว่าไม่มีสี ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น ก๊าซที่มีอยู่มากและจำเป็นต่อสิ่งที่มีชีวิตคือก๊าซออกซิเจนที่มีอยู่ในอากาศรอบๆตัวเราทุกหนทุกแห่ง อากาศมีอยู่ในบ้านและบริเวณ มีอยู่ในโรงเรียน บริเวณรอบโรง เรียน กลางป่า เขา ชายทะเล แม่น้ำ น้ำตก สวน และอื่นๆ
การสอนเรื่องอากาศมีความสำคัญดังนี้
-อากาศเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตของคนเรา อยู่กับคนเราตลอดเวลา เพราะเราใช้อากาศหายใจ หากขาดอากาศหายใจก็เสียชีวิตทันที สำหรับเด็กปฐมวัย เขาจะเริ่มสังเกตจากความจริงของชีวิตว่า เขามีสิ่งหนึ่งเข้าออกผ่านช่องจมูก -เด็กสัมผัสอากาศตลอดเวลา ผ่านผิวหนังที่ทำให้เขาเกิดความรู้สึก ร้อน หนาว อุ่น สบาย -อากาศมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ลมที่พัดปกติ พัดผ่านใบไม้ๆจะไหวไปมา เป็นต้น
-สิ่งของเครื่องใช้หลายชนิดใช้อากาศประกอบ เช่น สูบลมเข้าลูกโป่ง เป่าถุงนอนให้ป่องออกเป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องที่ใช้ฝึกการสังเกตธรรมชาติรอบตัวให้แก่เด็ก-เรื่องอากาศที่ดีเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นที่ทุกคนควรรู้ และรักษาสภาพอากาศที่ดีให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพควรได้รับการปลูกฝังตั้งแต่เด็ก จึงเป็นเรื่องควรอบรมสั่งสอนเด็กปฐมวัยด้วย
-อากาศเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตของคนเรา อยู่กับคนเราตลอดเวลา เพราะเราใช้อากาศหายใจ หากขาดอากาศหายใจก็เสียชีวิตทันที สำหรับเด็กปฐมวัย เขาจะเริ่มสังเกตจากความจริงของชีวิตว่า เขามีสิ่งหนึ่งเข้าออกผ่านช่องจมูก -เด็กสัมผัสอากาศตลอดเวลา ผ่านผิวหนังที่ทำให้เขาเกิดความรู้สึก ร้อน หนาว อุ่น สบาย -อากาศมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ลมที่พัดปกติ พัดผ่านใบไม้ๆจะไหวไปมา เป็นต้น
-สิ่งของเครื่องใช้หลายชนิดใช้อากาศประกอบ เช่น สูบลมเข้าลูกโป่ง เป่าถุงนอนให้ป่องออกเป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องที่ใช้ฝึกการสังเกตธรรมชาติรอบตัวให้แก่เด็ก-เรื่องอากาศที่ดีเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นที่ทุกคนควรรู้ และรักษาสภาพอากาศที่ดีให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพควรได้รับการปลูกฝังตั้งแต่เด็ก จึงเป็นเรื่องควรอบรมสั่งสอนเด็กปฐมวัยด้วย
2.4จัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย : ดูเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตลอดชีวิตของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและ มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
เป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์คือ
1.แสดงความตระหนักรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นผ่านการลงมือปฏิบัติ
2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้อย่างๆด้วยตนเอง อย่างเสรีและตามแยยที่กำหนดให้
3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ
4.สืบค้นและสนทนาเกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของสิ่งต่างและใช้สิ่งเหล่านั้นได้อย่างปลอดภัย
5.รู้และสามารถใช้สิ่งของที่เป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
6.เพื่อให้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
บทบาทการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
1. ช่วยให้เด็กได้พัฒนาความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่
2.ช่วยให้เด็กได้พัฒนาคุณลักษณะตามวัยที่สำคัญ 4 ด้าน
3.การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย ช่วยให้เด็กได้มีโอกาสใช้จิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ในการออกแบบและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ตลอดจนคิดวิธีการแก้ปัญหาต่างๆตามวัย
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยควรส่งเสริมด้านต่างๆดังนี้
1.สนับสนุนและส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
2.สนับสนุนและส่งเสริมความต้องการในการตั้งคำถาม
3.ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ สำรวจ ตรวจสอบ จำแนกสิ่งต่างๆ
4.ส่งเสริมกระบวนการคิด
5.ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
6.ส่งเสริมความสนใจในการดูแลและรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว
7.เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความรู้สึกชื่นชมยินดีในธรรมชาติ
เป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์คือ
1.แสดงความตระหนักรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นผ่านการลงมือปฏิบัติ
2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้อย่างๆด้วยตนเอง อย่างเสรีและตามแยยที่กำหนดให้
3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ
4.สืบค้นและสนทนาเกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของสิ่งต่างและใช้สิ่งเหล่านั้นได้อย่างปลอดภัย
5.รู้และสามารถใช้สิ่งของที่เป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
6.เพื่อให้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
บทบาทการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
1. ช่วยให้เด็กได้พัฒนาความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่
2.ช่วยให้เด็กได้พัฒนาคุณลักษณะตามวัยที่สำคัญ 4 ด้าน
3.การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย ช่วยให้เด็กได้มีโอกาสใช้จิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ในการออกแบบและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ตลอดจนคิดวิธีการแก้ปัญหาต่างๆตามวัย
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยควรส่งเสริมด้านต่างๆดังนี้
1.สนับสนุนและส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
2.สนับสนุนและส่งเสริมความต้องการในการตั้งคำถาม
3.ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ สำรวจ ตรวจสอบ จำแนกสิ่งต่างๆ
4.ส่งเสริมกระบวนการคิด
5.ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
6.ส่งเสริมความสนใจในการดูแลและรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว
7.เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความรู้สึกชื่นชมยินดีในธรรมชาติ
2.5 ฝึกทักษะสังเกตนำสู่การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ :ดูเพิ่มเติม
ส่งเสริมทักษะการสังเกตผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า
- สังเกตด้วยตา
- สังเกตด้วยหู มีความสามารถในการจำแนกเสียงต่างๆ ที่ได้ยินนั้น จะมีพื้นฐานที่ดีในการเรียนรู้ภาษา
- สังเกตด้วยจมูก การใช้จมูกดมกลิ่น
- สังเกตด้วยลิ้น การใช้ลิ้นชิมรสอาหารต่าง ๆ
- ฝึกสังเกตด้วยผิวหนัง การเรียนรู้ด้วยการใช้มือสัมผัส แตะ หรือเอาสิ่งของต่าง ๆ
3.การนำเสนอหน่วยการจัดประสบการณ์ของแต่ละกลุ่ม
Jasmine Unit..
Applications :
1. การจัดกิจกรรมสำหรับเด็กควรเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และก่อนที่เราจะไปสอนเด็กเราก็ต้องเข้าใจวิธีการเรียนรู้ของเด็กเพื่อจะได้จัดประสบการณ์ให้ตรงตามความต้องการและการเรียนรู้ของเขา
2.ตัวอย่างกิจกรรมในวันนี้สามารถนำไปจัดกิจกรรมกับเด็กได้จริง เด็กสามารถทำได้ แถมยังประยุกต์ได้อีกหลายอย่างแต่ที่สำคัญ ควรคำนึงถึงสภาพแวดล้อมหรือท้องถิ่นของเด็กด้วย เพื่อที่จะง่ายต่อการหาสื่อมาใช้สอน
3.จากบทความที่เพื่อนำเสนอทำให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากขึ้นทั้งเรื่องทักษะและความรู้ สามารถนำไปปรับใช้ได้ในอนาคต
Evaluation :
Self : เขาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและร่วมทำกิจกรรมแสดงความคิดเห็นภายในห้องอย่างกระตือรือร้นเพื่อที่จะได้สะสมความรู้และประสบการณ์เพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตจริง
Friends : ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอีกทั้งยังมีความกระตือรือร้นในการแสดงความคิดเห็นตามทัศนคติของตน และมีการนำเสนอ MindMapping ในรูปแบบที่หลากหลายสวยงามแต่เนื้อหายังไม่ตรงและเหมาะสมเท่าที่ควร
Teachers : มีเทคนิคการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กมาแนะนำ
- การจัดกิจกรรมครูไม่ควรที่จะบอกเด็กว่าต้องทำยังไงแต่ครูควรให้เด็กได้ทดลองและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อให้เด็กเกิดทักษะ
- ครูต้องเปฺ็นนักคิด นักออกแบบกิจกรรม แลละกิจกรรมควรเป็นแบบบูรณาการ
- ครูควรให้เด็กสืบค้นข้อมูลด้วยตนเองหาข้อเท็จจริงและรู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเอง
- ทุกสิ่งทุกอย่างทีเด็กเรียนรู้หรือจะนำมาจัดกิจกรรมควรเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
Lesson 5
บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเข้าเรียน 12.00 น. เวลาเลิกเรียน 15.40 น
Knowledge :
Activities in class.....
1.กิจกรรมพับกระดาษ Equipment :
Steps :
พับกระดาษครึ่งหนึ่ง จากนั้นวาดภาพตามจินตนาการ(วาดทั้งสองด้าน)
ใช้เทปใส่ติดไม้ลูกชิ้นกับกระดาษ
สุดท้ายใช้แม็คเย็บกระดาษทั้ง2ด้านติดกัน
ทดลองใช้
สิ่งที่สังเกตได้ จากการที่เราได้วาดรูปสองด้านแล้วหมุน
เร็วๆจะทำให้มองเห็นภาพทั้งสองมารวมกันเป็นหน้าเดียว
โดยเรียกว่า "ภาพติดตา"(ความเร็วของสเปสกับเวลา)
เร็วๆจะทำให้มองเห็นภาพทั้งสองมารวมกันเป็นหน้าเดียว
โดยเรียกว่า "ภาพติดตา"(ความเร็วของสเปสกับเวลา)
2.กิจกรรมการนำเสนอ article
2.1 เรื่องสอนลูกเรื่องปรากฏการธรรมชาติ : ดูเพิ่มเติม
Natural phenomena หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้น แต่มีผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์โดยตรง เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า รุ้งกินน้ำ กลางวัน กลางคืน ภาวะโลกร้อน รวมไปถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบางอย่างที่นานๆครั้งจะปรากฎให้เห็น
" 5 Craig’s Basic Concepts"
- ความเปลี่ยนแปลง (Change) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา- ความหลากหลาย (Variety) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มีความคล้ายคลึงกันแต่ไม่เหมือนกัน จึงควรให้เด็กเรียนรู้ความเหมือนและความแตกต่างของสิ่งต่างๆ- การปรับตัว (Adjustment) ทุกสิ่งทุกอย่างจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ครูจึงควรสอนให้เด็กได้สังเกตลักษณะของสิ่งนี้ - การพึ่งพาอาศัยกัน (Mutuality) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เช่น นกเอี้ยงกับควาย ดังนั้น ครูจึงต้องให้เด็กเห็นธรรมชาติของสิ่งนี้- ความสมดุล (Equilibrium) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะต้องต่อสู้เพื่อรักษาชีวิต และปรับตัวเพื่อให้ได้สมดุล และมีการผสานกลมกลืนกันเช่น ปลาอยู่ในน้ำ นกบินได้ ปลาใหญ่ย่อมกินปลาเล็ก สัตว์แข็งแรงย่อมกินสัตว์ที่อ่อนแอ สัตว์ที่อ่อนแอต้องมีอาวุธพิเศษบางอย่างไว้ป้องกันตัว เป็นต้น เด็กควรมีความเข้าใจธรรมชาติของสิ่งนี้ เพื่อให้ตนเองซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติสามารถรักษาสมดุลไว้ได้
- ความเปลี่ยนแปลง (Change) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา- ความหลากหลาย (Variety) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มีความคล้ายคลึงกันแต่ไม่เหมือนกัน จึงควรให้เด็กเรียนรู้ความเหมือนและความแตกต่างของสิ่งต่างๆ- การปรับตัว (Adjustment) ทุกสิ่งทุกอย่างจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ครูจึงควรสอนให้เด็กได้สังเกตลักษณะของสิ่งนี้ - การพึ่งพาอาศัยกัน (Mutuality) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เช่น นกเอี้ยงกับควาย ดังนั้น ครูจึงต้องให้เด็กเห็นธรรมชาติของสิ่งนี้- ความสมดุล (Equilibrium) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะต้องต่อสู้เพื่อรักษาชีวิต และปรับตัวเพื่อให้ได้สมดุล และมีการผสานกลมกลืนกันเช่น ปลาอยู่ในน้ำ นกบินได้ ปลาใหญ่ย่อมกินปลาเล็ก สัตว์แข็งแรงย่อมกินสัตว์ที่อ่อนแอ สัตว์ที่อ่อนแอต้องมีอาวุธพิเศษบางอย่างไว้ป้องกันตัว เป็นต้น เด็กควรมีความเข้าใจธรรมชาติของสิ่งนี้ เพื่อให้ตนเองซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติสามารถรักษาสมดุลไว้ได้
2.2 เรื่องสอนลูกเรื่องสัตว์ : ดูเพิ่มเติม
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้หน่วยสัตว์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้รู้จักสัตว์ประเภทต่างๆ เช่น สัตว์เลี้ยงไว้ดูเล่น สัตว์เลี้ยงไว้ใช้งาน สัตว์บก สัตว์น้ำ ลักษณะของสัตว์ ประโยชน์ของสัตว์ การเลี้ยงดูและให้อาหารสัตว์ การอนุรักษ์สัตว์ ที่อยู่อาศัย และการดำรงชีวิตของสัตว์
2.3 ศิลปะกับวิทยาศาสตร์ : ดูเพิ่มเติม
เป็นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง ผ่านการเรียนโดยการทำงานทางศิลปะ เพื่อการสื่อสาร การแสดงออกซึ่งความคิดและจินตนาการ ระบายออก ความรู้สึก จนคุ้นชินกับทักษะต่างต่าง ศิลปะ เป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์ แก่ เด็กเด็ก ทำให้มีจิตใจอ่อนโยน ฝึกการสังเกตุ มีจิตนาการที่ดี ใจเย็น อดทน ฝึกสมาธิ ประสาทสัมผัส เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ และการเตรียมพร้อมให้การเรียนขั้นสูงต่อไป โดยผู้สอนเป็นผู้สนับสนุนและแนะนำ โดยให้ผู้เรียนจะ ฝึกทำงานและพัฒนาแต่ละชิ้นด้วยตัวเอง
Science Process Skills.
science is more than a collection of facts.
Learning skills are the tools scientists use to "know" about the world.
science is more than a collection of facts.
Learning skills are the tools scientists use to "know" about the world.
Applications : ในการจัดประสบการณ์หรือกิจกรรมสำหรับเด็กในอนาคตชีวิตครูอนุบาลจะให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ และนำ activities ที่ได้ทำในวันนี้ไปใช้ในการจัดประสบกาณ์ที่จะทำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ อีกทั้งยังนำมาเป็นแนวความรู้สำหรับตนเองเพื่อจะได้มีประสบการณ์ที่หลากหลาย เนื่องจากครูปฐมวัยต้องเป็นนักประดิษฐ์ นักออกแบบ นักคิด และนักทำสื่อ
Evaluation :
Self : 95% มีความพร้อมที่จะเรียนเรียน มารอเรียนก่อนเวลา แสดงความคิดเห็นและร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน มีความกระตือรือร้น ตั้งใจเรียนและมีความสุขในการเรียน แต่อาจจะมีเงียบหรือไม่ได้ตอบคำถามบ้าง
Friends : มีความกระตือรือร้นในการเรียน ร่วมกันแสด งความเห็นอย่างรวดเร็ว แต่อาจจะมีติดขัดและมีคนแอบหลับบ้างแต่เป็นส่วนน้อย
Teachers : มีเทคนิคการสอนคือ การใช้คำถาม และให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น จากนั้นอาจารย์ก็มีการนำเสนอโดย PowerPoint พร้อมทั้งบรรยายสรุปเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีกิจกรรมดีๆมาเป็นแบบอย่างให้นักศึกษาเพื่อนำไปปรับใช้ในอนาคต เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557
Lesson 4
บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 4 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 12.55 น. เวลาเลิกเรียน 15.50 น
Knowledge :
การนำเสนอบทความของเพื่อนรวมทั้งตัวข้าพเจ้าเอง
1.เรื่องการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย : ดูเพิ่มเติม
2.วิทยาศาสตร์และการทดลอง : ดูเพิ่มเติม
จากนั้นอาจารย์ก็สรุปท้ายบทความของแต่ละคนโดยให้แต่ละคนจับประเด็นที่เพื่อนนำเสนอ และได้มีการบรรยายเกี่ยวกับทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยมีสาระสรุปได้ดังนี้
การนำเสนอบทความของเพื่อนรวมทั้งตัวข้าพเจ้าเอง
1.เรื่องการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย : ดูเพิ่มเติม
2.วิทยาศาสตร์และการทดลอง : ดูเพิ่มเติม
สิ่งที่ต้องใช้
- แก้ว 1 ใบ
- ไข่ไก่ 1 ฟอง
- น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
- นำไข่ไก่ใส่ลงไปในแก้ว
- เทน้ำส้มสายชูลงไปให้ท่วมไข่
- ทิ้งไว้ 1 คืน อดใจรอนะพอตอนเช้าเทน้ำออกก็แล้วลองจับไข่ดูซิ น้ำส้มสายชูเป็นสารเคมีประเภทกรดอินทรีย์ ได้แก่ กรดน้ำส้มหรือกรดอะซิติก ซึ่งสามารถละลายแคลเซียมได้ เปลือกไข่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบหลักที่ทำให้เปลือกไข่แข็ง เมื่อถูกละลายหายไป เปลือกไข่จึงนิ่ม
-
3.เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย เทคนิคการเลืกและเล่านิทาน : ดูเพิ่มเติม
จากนั้นอาจารย์ก็สรุปท้ายบทความของแต่ละคนโดยให้แต่ละคนจับประเด็นที่เพื่อนนำเสนอ และได้มีการบรรยายเกี่ยวกับทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยมีสาระสรุปได้ดังนี้
Applications :
1.นำเทคนิคการสอนของอาจารย์ในวันนี้ไปปรับใช้กับเด็กปฐมวัย แต่ต้องปรับให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก เพื่อตรงตามความต้องการและความสนใจของเด็กให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดี
2.นำความรู้และสาระการเรียนทั้งที่ได้จากบทความที่เพื่อนำเสนอและอาจารย์บรรยายไปปรับใช้ในการเรียนหรือการสอนในอนาคต
1.นำเทคนิคการสอนของอาจารย์ในวันนี้ไปปรับใช้กับเด็กปฐมวัย แต่ต้องปรับให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก เพื่อตรงตามความต้องการและความสนใจของเด็กให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดี
2.นำความรู้และสาระการเรียนทั้งที่ได้จากบทความที่เพื่อนำเสนอและอาจารย์บรรยายไปปรับใช้ในการเรียนหรือการสอนในอนาคต
3.การเป็นครูต้องรู้จักจับประเด็นเนื้อหาให้ตรง และง่ายต่อการเรียนรู้ของเด็ก
Evaluation :
Self :วันนี้หลังจากที่ได้นำเสนอบทความมีข้อบกร่องเล็กน้อยคือ พูดเร็วไปหน่อย แต่สามารถจับใจความบทความได้ดีพร้อมยกตัวอย่าง
Friends : วันนี้เพื่อนให้ความร่วมมือในชั้นเรียนเป็นบางช่วงอาจจะมีผลมาจากอาการง่วง แต่ก็มีคนที่สนใจและแสดงความคิดเห็นร่วมกันตลอกเวลา
Teachers :
1.แนะนำการนำเสนอบความของแต่ละคน
2.แนะแนำเทคนิคการเชื่อมโยง และการนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
3.แนะะนำเกี่ยวกับการสรุปเนื้อหาการเรียนว่า ควรสรุปให้กระชับและเข้าใจได้ง่าย
4.แนะนำว่าวิธีการสอนอาจจะใช้คำถามสรุปและให้แสดงความเห็นว่าได้ความรู้อะไรจากบทความ
Evaluation :
Friends : วันนี้เพื่อนให้ความร่วมมือในชั้นเรียนเป็นบางช่วงอาจจะมีผลมาจากอาการง่วง แต่ก็มีคนที่สนใจและแสดงความคิดเห็นร่วมกันตลอกเวลา
Teachers :
1.แนะนำการนำเสนอบความของแต่ละคน
2.แนะแนำเทคนิคการเชื่อมโยง และการนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
3.แนะะนำเกี่ยวกับการสรุปเนื้อหาการเรียนว่า ควรสรุปให้กระชับและเข้าใจได้ง่าย
4.แนะนำว่าวิธีการสอนอาจจะใช้คำถามสรุปและให้แสดงความเห็นว่าได้ความรู้อะไรจากบทความ
วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2557
Lesson 3
บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 3 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเข้าเรียน 12.55 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น
เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเข้าเรียน 12.55 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น
Knowledge :
Activities in the classroom : การนำเสนอบทความของเพื่อนโดยมีหัวข้อเรื่องดังนี้
- การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอนุบาล :ดูเพิ่มเติม
ADVENTURES IN AIR เรียนรู้เกี่ยวกับอากาศที่อยู่รอบๆตัวเรา อากาศสามารถทำให้สิ่งของเคลื่อนที่ อากาศต้องการที่อยู่และอากาศร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น
ANIMAL FRIENDS สนุกกับการทายเสียงสัตว์ชนิดต่างๆ รูปลักษณะของสัตว์ที่เปลี่ยนไป
COLOR LAB การเรียนรู้เกี่ยวกับสี เช่นสีรุ้ง
นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่นๆสำหรับ เด็กอนุบาลเช่น
-MAGNETIC ATTRACTION
-SCIENCE OF MUSIC
-WEATHER WONDERS,
-WORLD OF WORMS
-BUTTERFLIES,
-LET’S MEASURE
-TASTE & SMELL
-SHAPES & STRUCTURES
-MAD MIXTURES
-HUMAN BODY
-MAGNETIC ATTRACTION
-SCIENCE OF MUSIC
-WEATHER WONDERS,
-WORLD OF WORMS
-BUTTERFLIES,
-LET’S MEASURE
-TASTE & SMELL
-SHAPES & STRUCTURES
-MAD MIXTURES
-HUMAN BODY
- สอนลูกเรื่องพืช :ดูเพิ่มเติม
- 5แนวทางการสอนคิด เติมวิทย์ให้กับเด็กอนุบาล :ดูเพิ่มเติม
Applications : ได้เทคนิคการสอนจากอาจารย์โดยการใช้ภาพเป็นสื่อ และการใช้คำถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้เรียนได้สังเคราะห์ และนำไปสรุปโดย MindMapping และการใช้กราฟฟิค เพื่อจัดการเรียนการสอน และมีการบรรยายในบางจังหวะ
Evaluation :
Self : 100% การร่วมกิจกรรมภายในชั้นเรียนอย่างเต็มที่โดยการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น ตั้งใจฟังเพื่อนเวลาเพื่อนนำเสนอบทความ และการเข้าเรียนตรงงเวลา
Friends : เพื่อนบางกลุ่มมีการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมภายในชั้นเรียนแต่บางกลุ่มชอบพูดคุยกัน
Teachers : มีการแนะนำเทคนิคการสอนเพื่อนนำไปปรับใช้กับเด็กได้จริง และบอกเราประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก และที่สำคัญอาจารย์มีการยอมรับในความคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษากล้าคิด วิเคราะห์และแสดงความเห็นเพื่อให้เกิดกระบวนการคิด และการเรียนรู้
Friends : เพื่อนบางกลุ่มมีการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมภายในชั้นเรียนแต่บางกลุ่มชอบพูดคุยกัน
Teachers : มีการแนะนำเทคนิคการสอนเพื่อนนำไปปรับใช้กับเด็กได้จริง และบอกเราประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก และที่สำคัญอาจารย์มีการยอมรับในความคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษากล้าคิด วิเคราะห์และแสดงความเห็นเพื่อให้เกิดกระบวนการคิด และการเรียนรู้
วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557
Summary article
วิทยาศาสตร์และการทดลอง
วันที่ค้นคว้า : วันพุธที่ 3 กันยายน พ.ศ.2557
แนวคิดการสอนวิทยาศาสตร์ & เทคนิคพ่อแม่
ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (18/08/08 )
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็ก ได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อันเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานหรือทักษะเบื้องต้นที่ควรส่งเสริม
ให้เด็กปฐมวัย ได้รับการพัฒนามี 7 ทักษะกระบวนการ คือ
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการจำแนกประเภท
- ทักษะการวัด
- ทักษะการสื่อความหมาย
- ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
- ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส , สเปสกับเวลา
- ทักษะการคำนวณ
การทดลองวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องสนุก และน่าทึ่งสำหรับเด็กๆอย่างพวกเรามีการทดลองง่ายๆ ใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่ในครัวของคุณแม่ หรือห้องเก็บของในบ้าน มาให้เพื่อนๆ ลองเลือกสักอันเอาไปเล่นทดลองกันวันหยุดนี้
ไข่เอย..จงนิ่ม
มาเสกให้ไข่ไก่นิ่มกันเถอะ
สิ่งที่ต้องใช้
- แก้ว 1 ใบ
- ไข่ไก่ 1 ฟอง
- น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
น้ำส้มสายชูเป็นสารเคมีประเภทกรดอินทรีย์ ได้แก่ กรดน้ำส้มหรือกรดอะซิติก ซึ่งสามารถละลายแคลเซียมได้ เปลือกไข่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบหลักที่ทำให้เปลือกไข่แข็ง เมื่อถูกละลายหายไป เปลือกไข่จึงนิ่มกระดูกเรา ก็มีแคลเซียมเช่นกัน คราวหน้าเพื่อนๆกิน KFC.แล้วเอากระดูกไก่ มาทดลองดูนะว่าเป็นอย่างไร
อ้างอิง : http://www.karn.tv/component/content/article/177
- นำไข่ไก่ใส่ลงไปในแก้ว
- เทน้ำส้มสายชูลงไปให้ท่วมไข่
- ทิ้งไว้ 1 คืน อดใจรอนะพอตอนเช้าเทน้ำออกก็แล้วลองจับไข่ดู
น้ำส้มสายชูเป็นสารเคมีประเภทกรดอินทรีย์ ได้แก่ กรดน้ำส้มหรือกรดอะซิติก ซึ่งสามารถละลายแคลเซียมได้ เปลือกไข่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบหลักที่ทำให้เปลือกไข่แข็ง เมื่อถูกละลายหายไป เปลือกไข่จึงนิ่มกระดูกเรา ก็มีแคลเซียมเช่นกัน คราวหน้าเพื่อนๆกิน KFC.แล้วเอากระดูกไก่ มาทดลองดูนะว่าเป็นอย่างไร
อ้างอิง : http://www.karn.tv/component/content/article/177
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)