บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเข้าเรียน 12.00 น. เวลาเลิกเรียน 15.40 น
Knowledge :
Activities in class.....
1.กิจกรรมพับกระดาษ Equipment :
Steps :
พับกระดาษครึ่งหนึ่ง จากนั้นวาดภาพตามจินตนาการ(วาดทั้งสองด้าน)
ใช้เทปใส่ติดไม้ลูกชิ้นกับกระดาษ
สุดท้ายใช้แม็คเย็บกระดาษทั้ง2ด้านติดกัน
ทดลองใช้
สิ่งที่สังเกตได้ จากการที่เราได้วาดรูปสองด้านแล้วหมุน
เร็วๆจะทำให้มองเห็นภาพทั้งสองมารวมกันเป็นหน้าเดียว
โดยเรียกว่า "ภาพติดตา"(ความเร็วของสเปสกับเวลา)
เร็วๆจะทำให้มองเห็นภาพทั้งสองมารวมกันเป็นหน้าเดียว
โดยเรียกว่า "ภาพติดตา"(ความเร็วของสเปสกับเวลา)
2.กิจกรรมการนำเสนอ article
2.1 เรื่องสอนลูกเรื่องปรากฏการธรรมชาติ : ดูเพิ่มเติม
Natural phenomena หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้น แต่มีผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์โดยตรง เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า รุ้งกินน้ำ กลางวัน กลางคืน ภาวะโลกร้อน รวมไปถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบางอย่างที่นานๆครั้งจะปรากฎให้เห็น
" 5 Craig’s Basic Concepts"
- ความเปลี่ยนแปลง (Change) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา- ความหลากหลาย (Variety) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มีความคล้ายคลึงกันแต่ไม่เหมือนกัน จึงควรให้เด็กเรียนรู้ความเหมือนและความแตกต่างของสิ่งต่างๆ- การปรับตัว (Adjustment) ทุกสิ่งทุกอย่างจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ครูจึงควรสอนให้เด็กได้สังเกตลักษณะของสิ่งนี้ - การพึ่งพาอาศัยกัน (Mutuality) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เช่น นกเอี้ยงกับควาย ดังนั้น ครูจึงต้องให้เด็กเห็นธรรมชาติของสิ่งนี้- ความสมดุล (Equilibrium) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะต้องต่อสู้เพื่อรักษาชีวิต และปรับตัวเพื่อให้ได้สมดุล และมีการผสานกลมกลืนกันเช่น ปลาอยู่ในน้ำ นกบินได้ ปลาใหญ่ย่อมกินปลาเล็ก สัตว์แข็งแรงย่อมกินสัตว์ที่อ่อนแอ สัตว์ที่อ่อนแอต้องมีอาวุธพิเศษบางอย่างไว้ป้องกันตัว เป็นต้น เด็กควรมีความเข้าใจธรรมชาติของสิ่งนี้ เพื่อให้ตนเองซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติสามารถรักษาสมดุลไว้ได้
- ความเปลี่ยนแปลง (Change) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา- ความหลากหลาย (Variety) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มีความคล้ายคลึงกันแต่ไม่เหมือนกัน จึงควรให้เด็กเรียนรู้ความเหมือนและความแตกต่างของสิ่งต่างๆ- การปรับตัว (Adjustment) ทุกสิ่งทุกอย่างจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ครูจึงควรสอนให้เด็กได้สังเกตลักษณะของสิ่งนี้ - การพึ่งพาอาศัยกัน (Mutuality) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เช่น นกเอี้ยงกับควาย ดังนั้น ครูจึงต้องให้เด็กเห็นธรรมชาติของสิ่งนี้- ความสมดุล (Equilibrium) ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้จะต้องต่อสู้เพื่อรักษาชีวิต และปรับตัวเพื่อให้ได้สมดุล และมีการผสานกลมกลืนกันเช่น ปลาอยู่ในน้ำ นกบินได้ ปลาใหญ่ย่อมกินปลาเล็ก สัตว์แข็งแรงย่อมกินสัตว์ที่อ่อนแอ สัตว์ที่อ่อนแอต้องมีอาวุธพิเศษบางอย่างไว้ป้องกันตัว เป็นต้น เด็กควรมีความเข้าใจธรรมชาติของสิ่งนี้ เพื่อให้ตนเองซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติสามารถรักษาสมดุลไว้ได้
2.2 เรื่องสอนลูกเรื่องสัตว์ : ดูเพิ่มเติม
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้หน่วยสัตว์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้รู้จักสัตว์ประเภทต่างๆ เช่น สัตว์เลี้ยงไว้ดูเล่น สัตว์เลี้ยงไว้ใช้งาน สัตว์บก สัตว์น้ำ ลักษณะของสัตว์ ประโยชน์ของสัตว์ การเลี้ยงดูและให้อาหารสัตว์ การอนุรักษ์สัตว์ ที่อยู่อาศัย และการดำรงชีวิตของสัตว์
2.3 ศิลปะกับวิทยาศาสตร์ : ดูเพิ่มเติม
เป็นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง ผ่านการเรียนโดยการทำงานทางศิลปะ เพื่อการสื่อสาร การแสดงออกซึ่งความคิดและจินตนาการ ระบายออก ความรู้สึก จนคุ้นชินกับทักษะต่างต่าง ศิลปะ เป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์ แก่ เด็กเด็ก ทำให้มีจิตใจอ่อนโยน ฝึกการสังเกตุ มีจิตนาการที่ดี ใจเย็น อดทน ฝึกสมาธิ ประสาทสัมผัส เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ และการเตรียมพร้อมให้การเรียนขั้นสูงต่อไป โดยผู้สอนเป็นผู้สนับสนุนและแนะนำ โดยให้ผู้เรียนจะ ฝึกทำงานและพัฒนาแต่ละชิ้นด้วยตัวเอง
Science Process Skills.
science is more than a collection of facts.
Learning skills are the tools scientists use to "know" about the world.
science is more than a collection of facts.
Learning skills are the tools scientists use to "know" about the world.
Applications : ในการจัดประสบการณ์หรือกิจกรรมสำหรับเด็กในอนาคตชีวิตครูอนุบาลจะให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ และนำ activities ที่ได้ทำในวันนี้ไปใช้ในการจัดประสบกาณ์ที่จะทำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ อีกทั้งยังนำมาเป็นแนวความรู้สำหรับตนเองเพื่อจะได้มีประสบการณ์ที่หลากหลาย เนื่องจากครูปฐมวัยต้องเป็นนักประดิษฐ์ นักออกแบบ นักคิด และนักทำสื่อ
Evaluation :
Self : 95% มีความพร้อมที่จะเรียนเรียน มารอเรียนก่อนเวลา แสดงความคิดเห็นและร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน มีความกระตือรือร้น ตั้งใจเรียนและมีความสุขในการเรียน แต่อาจจะมีเงียบหรือไม่ได้ตอบคำถามบ้าง
Friends : มีความกระตือรือร้นในการเรียน ร่วมกันแสด งความเห็นอย่างรวดเร็ว แต่อาจจะมีติดขัดและมีคนแอบหลับบ้างแต่เป็นส่วนน้อย
Teachers : มีเทคนิคการสอนคือ การใช้คำถาม และให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น จากนั้นอาจารย์ก็มีการนำเสนอโดย PowerPoint พร้อมทั้งบรรยายสรุปเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีกิจกรรมดีๆมาเป็นแบบอย่างให้นักศึกษาเพื่อนำไปปรับใช้ในอนาคต เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น