วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Lesson 14

บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 14 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 12.50 น. เวลาเลิกเรียน 17.00 

Activity : Media

                                       
 Activity : Cooking     


Activity : Research
1. การจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยการจัดดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

  • ทักษะการสังเกต
  • ทักษะการจำแนกประเภท
  • ทักษะการวัด
  • ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติ
  • ทักษะการลงความเห็น
วิธีดำเนินการ
     เปิดโอกาสให้เด็กลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง โดยมีอุปกรณ์ที่เป็นของจริง รูปภ่พ และสื่อต่างๆ


2.การพัมนาชุดการสอนวิทยาศาสตร์น่ารู้ชั้นอนุบาล 2
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาชุดการสอนวิทยาศาสตร์
  2. เพื่เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
โดยมีชุดกิจกรรมดังนี้
  1. แว่นขยาย ให้เด็กได้ใช้แว่นในการสำรวจสิ่งรอบๆตัว
  2. แสง
  3. เสียงจากธรรมชาติ
  4. เสียงที่เกิดจากคน
3.เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน ดูเพิ่มเติม
การดำเนินการ : หน่วยเดียวกันต่างกันที่จัดกิจกรรมโดยครูใช้คำถามในด้านต่างๆ
  • ด้านคุณลักษณะ : สี รูปร่าง รูปทรง
  • ด้านปริมาณ : การปริมาณสถานที่หนึ่งกับสถานที่หนึ่ง
  • การเปลี่ยนแปลง
  • ผลการวิเคราะห์ จัดประสบการณ์นอกห้องเรียนมีผลในการส่งเสริมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. การพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มสมุนไพร
การดำเนินกิจกรรม
  1. ขั้นนำ การใช้สื่อหรือเพลง คำคล้องจอง
  2. แนะนำส่วนผสมและอุปกรณ์ พร้อมสร้างข้อตกลง
  3. แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม เพื่อทำกิจกรรม
  4. หลังเสร็จกิจกรรมช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่
5.ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
วิธีการดำเนินกิจกรรม
  1. ปริศนาคำทาย
  2. เล่านิทาน
  3. ตั้งคำถามชักชวนให้เด็กทำการทดลอง
  4. ลงมือทำการทดลอง กิจกรรมพับเรือ
Activity : Thai Teachers TV
1.ส่องนกในโรงเรียน วิธีการดำเนินการดังนี้
  • ครูแนะนำนกให้เด็กรู้ก่อนว่ามีนกอะไรบ้าง
  • จากนั้นให้เด็กออกไปสำรวจนรอบๆโรงเรียน
  • ท้ายกิจกรรมมีการสรุปผลร่วมกัน

2.สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
  • จัดบรรยายกาศในการเรียนการสอนให้น่าสนใจและให้เด็กลงมือกระทำ
  • ต้องประเมินผลตามสภาพจริง
  • เด็กที่มีจิตวิทยาศาสตร์จะมีลักษณะอยากรู้อยากเห็น สนใจสิ่งรอบตัวรอบข้าง ชอบซักถาม สังเกต ทดลอง เป็นต้น
3.จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย หลักการสอนดังนี้
  • สอนให้สนุก
  • สอนให้เด็กได้ลงมือกระทำ
  • สอนสิ่งรอบบตัวและใกล้ตัวเด็ก
Application :
   จากที่เพื่อนจัดกิจกรรมและนำเสนองานวิจัยในวันนี้ ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายวิธีมากยิ่งขึ้น ทั้งในเรื่องวิธีการจัดการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียนการสอนและกระบวนการในการทำงานวิจัยต่างๆให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวันหน้าได้ และการทำCooking ทำให้ข้าพเจ้ามีประสบการณ์มากยิ่งขึ้น

Evaluation :
Self : วันนี้เขาเรียนตรงงเวลา และการเรียนในวันนี้เป็นการเรียนแบบActive เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาในการทำCooking จึงทำให้ได้ความรู้และประสบการณ์หลายๆอย่าง เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแนวทางปฏิบ้ติที่น่าสนใจจึงทำให้การเรียนในวันนี้มีความสนุกสานมากค่ะ
Friends :วันนี้เพื่อนมาเรียนไม่ครบแต่ก็ไม่มีผลกระทบต่อการทำกิจกรรม อีกอย่างวันนี้เป็นการเรียนแบบลงมือกระทำจึงทำให้ทุกคนที่มาเรียนเกิดความรู้ความสนใจและสนุกกับการเรียนในครั้งนี้เป็นอย่างมาก เนื่องจากทุกคนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
Teacher : วันนี้อาจารย์มีเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ จึงส่งผลให้การเรียนในครั้งนี้มีประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก และอาจารย์ยังมีเทคนิคพร้อมคำแนะนำให้นักศึกษาดังนี้
  • ในการที่จะทำ Cooking เราควรศึกษาข้อมูลและทำตามขั้นตอนเพื่อจะได้ผลออกมาที่ดี เช่น การผสมแป้งไม่ควรใส่น้ำเยอะเกินไปเพราะถ้าเรานำแป้งไปเท่ใส่พิมแป้งที่สุกออกมาจะไม่หนาและน่ารับประทาน
  • การที่เราทำกิจกรรมร่วมกันกลุ่มใหญ่ๆต้องรู้จักการรอคอย
  • หลังจากทำกิจกรรมเสร็จควรช่วยกันเก็บอุปกรณ์และทำความสะอาดเพื่อที่จะได้นำกลับมาใช้ได้อีกในครั้งต่อไป                                                                                                                                              

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น